บันทึกการเรียน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 9 กันยายน พ.ศ.2557
ครั้งที่ 4 เวลาเรียน 08.30 - 12.20 กลุ่ม 103
กิจกรรมวันนี้
บทความที่เพื่อนนำมาเสนอวันนี้
บทความที่ 1 เรื่องจุดประการคิดนอกกรอบ
บทความที่ 2 เรื่องทำอย่างไรให้ลูกสนใจทางวิทยาศาสตร์
บทความที่ 3 เรื่องวิทย์ - คณิตศาสตร์สำคัญอย่างไรกับอนาคตของชาติ
บทความที่ 4 เรื่องเมื่อลูกน้อยเรียนรู้วิทย์ - คณิต ผ่านเสียงดนตรี
บทความที่ 5 เรื่องการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ความรู้ที่ได้
ทักษะวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาเด็ก
วิทยาศาสตร์ หมายถึง การศึกษาสืบค้น และจัดระบบความจริงเกี่ยวกับธรรมชาติโดยอาศัยกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ประกอบด้วยวิธีการทักษะกระบวนการ และเจตคติทางวิทยาศาสตร์อย่างมีระบบแบบแผน มีขอบเขตโดยอาศัยการสังเกต การทดทองเพื่อค้นหาความจริง และทำให้ได้มาซึ่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป
แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
- การเปลี่ยนแปลง (Change) เปลี่ยนแปลงไปตามอายุ ตามเวลา การกระทบ สภาพอากาศ
- ความแตกต่าง (Difference) สิ่งต่างๆในโลกมีทั้งเหมือนกัน และแตกต่างกัน
- การปรับตัว (Adapendencec) ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
- การพึ่งพาอาศัยกัน (Dependence) ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
- ความสมดุล (Equilibrium) จะทำให้ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน อยู่ด้วยกันได้อย่างมีความสุข
การศึกษาวิธีการทางวิทยาศาสตร์
- ขั้นกำหนดปัญหา
- ขั้นตั้งสมมติฐาน
- ขั้นรวบรวมข้อมูล/การทดลอง
- ขั้นลงข้อสรุป
เจตคติทางวิทยาศาสตร์
- ความอยากรู้อยากเห็น เป็นคุณลักษณะของเด็ก
- ความเพียรพยายาม เป็นความคิดสร้างสรรค์
- ความมีเหตุผล เป็นความเหมาะสม
- ความซื่อสัตย์ เป็นความจริง และตรงไปตรงมา
- ความมีระเบียบ และรอบคอบ เป็นความละเอียด
- ความใจกว้าง เป็นการยอมรับการเปลี่ยนแปลง
ความสำคัญของวิทยาศาสตร์
- ตอบสนองความต้องการตามวัยของเด็ก
- พัฒนาทักษะกระบวนการของวิทยาศาสตร์
-เสริมสร้างประสบการณ์ ฯลฯ
ประโยขน์ของวิทยาศาสตร์
- พัฒนาความคิดรอบคอบพื้นฐาน
- พัฒนาการทักษะการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ฯลฯ
การนำไปประยุกต์ใช้
- สามารถนำมาปรับใช้กับตนเองได้ตามความเหมาะสม และสามารถนำไปศึกษาต่อเพื่อทำความเข้าใจกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ได้อยากถูกต้อง
ประเมินตนเอง
- วันนี้ตั้งใจเรียน ฟังและจดบันทึกตาม PowerPoint ที่อาจารย์ผู้สอน นำมาใช้เป็นสื่อการสอน
ประเมินเพื่อน
- วันนี้เพื่อนๆส่วนใหญ่ตั้งใจเรียน และจดบันทึกตามที่อาจารย์สอน ไม่ค่อยเล่น หรือพูดคุยกันในเวลาเรียน
ประเมินผู้สอน
- อาจารย์มีเทคนิคการสอน คือ มีการใช้คำถามเพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการเรียนการสอน และเมื่อมีการนำเสนอบทความของเพื่อน นักศึกษาจะต้องรู้จักตั้งคำถาม เพื่อรู้จักคิด วิเคราะห์
ความรู้เพิ่มเติม
ทักษะทางวิทยาศาสตร์มีอะไรบ้าง
กิจกรรมวันนี้
บทความที่เพื่อนนำมาเสนอวันนี้
บทความที่ 1 เรื่องจุดประการคิดนอกกรอบ
บทความที่ 2 เรื่องทำอย่างไรให้ลูกสนใจทางวิทยาศาสตร์
บทความที่ 3 เรื่องวิทย์ - คณิตศาสตร์สำคัญอย่างไรกับอนาคตของชาติ
บทความที่ 4 เรื่องเมื่อลูกน้อยเรียนรู้วิทย์ - คณิต ผ่านเสียงดนตรี
บทความที่ 5 เรื่องการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ความรู้ที่ได้
ทักษะวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาเด็ก
วิทยาศาสตร์ หมายถึง การศึกษาสืบค้น และจัดระบบความจริงเกี่ยวกับธรรมชาติโดยอาศัยกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ประกอบด้วยวิธีการทักษะกระบวนการ และเจตคติทางวิทยาศาสตร์อย่างมีระบบแบบแผน มีขอบเขตโดยอาศัยการสังเกต การทดทองเพื่อค้นหาความจริง และทำให้ได้มาซึ่งความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป
แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
- การเปลี่ยนแปลง (Change) เปลี่ยนแปลงไปตามอายุ ตามเวลา การกระทบ สภาพอากาศ
- ความแตกต่าง (Difference) สิ่งต่างๆในโลกมีทั้งเหมือนกัน และแตกต่างกัน
- การปรับตัว (Adapendencec) ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
- การพึ่งพาอาศัยกัน (Dependence) ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
- ความสมดุล (Equilibrium) จะทำให้ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน อยู่ด้วยกันได้อย่างมีความสุข
การศึกษาวิธีการทางวิทยาศาสตร์
- ขั้นกำหนดปัญหา
- ขั้นตั้งสมมติฐาน
- ขั้นรวบรวมข้อมูล/การทดลอง
- ขั้นลงข้อสรุป
เจตคติทางวิทยาศาสตร์
- ความอยากรู้อยากเห็น เป็นคุณลักษณะของเด็ก
- ความเพียรพยายาม เป็นความคิดสร้างสรรค์
- ความมีเหตุผล เป็นความเหมาะสม
- ความซื่อสัตย์ เป็นความจริง และตรงไปตรงมา
- ความมีระเบียบ และรอบคอบ เป็นความละเอียด
- ความใจกว้าง เป็นการยอมรับการเปลี่ยนแปลง
- ความใจกว้าง เป็นการยอมรับการเปลี่ยนแปลง
ความสำคัญของวิทยาศาสตร์
- ตอบสนองความต้องการตามวัยของเด็ก
- พัฒนาทักษะกระบวนการของวิทยาศาสตร์
-เสริมสร้างประสบการณ์ ฯลฯ
ประโยขน์ของวิทยาศาสตร์
- พัฒนาความคิดรอบคอบพื้นฐาน
- พัฒนาการทักษะการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ฯลฯ
การนำไปประยุกต์ใช้
- สามารถนำมาปรับใช้กับตนเองได้ตามความเหมาะสม และสามารถนำไปศึกษาต่อเพื่อทำความเข้าใจกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ได้อยากถูกต้อง
ประเมินตนเอง
- วันนี้ตั้งใจเรียน ฟังและจดบันทึกตาม PowerPoint ที่อาจารย์ผู้สอน นำมาใช้เป็นสื่อการสอน
ประเมินเพื่อน
- วันนี้เพื่อนๆส่วนใหญ่ตั้งใจเรียน และจดบันทึกตามที่อาจารย์สอน ไม่ค่อยเล่น หรือพูดคุยกันในเวลาเรียน
ประเมินผู้สอน
- อาจารย์มีเทคนิคการสอน คือ มีการใช้คำถามเพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการเรียนการสอน และเมื่อมีการนำเสนอบทความของเพื่อน นักศึกษาจะต้องรู้จักตั้งคำถาม เพื่อรู้จักคิด วิเคราะห์
ความรู้เพิ่มเติม
ทักษะทางวิทยาศาสตร์มีอะไรบ้าง